วันอาทิตย์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2558

การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน
ไทย สาธารณรัฐฝรั่งเศส

1. ประธานาธิบดี ฌาคส์ ชีรัค
1.1 นายกรัฐมนตรีไทยเยือนฝรั่งเศสอย่างเป็นทางการครั้งแรกระหว่างวันที่ 12-13 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 และครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 9 -11 ตุลาคม พ.ศ. 2548  เพิ่มเติม
องค์การระหว่างประเทศที่มีบทบาททางด้านมนุษยชน
องค์กรระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่มีต่อประเทศไทย
     1.  คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ(The United Nations Human Rights Council)
ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ(Un  commission  for human  rights) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด  47  ประเทศ  วัตถุประสงค์ขององค์กรคือ การพัฒนากลไกสิทธิมนุษยชนเป็นเอกภาพมากขึ้น  สำหรับประเทศไทยคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติได้เข้ามามีบทบาทในหการเผยแพร่ความรู้ในเรื่องสิทธิมุนษยชนให้แพร่หลายมากขึ้น เพื่อตรวจสอบ  ติดตาม ให้ข้อแนะนำและเผยแพร่รายงานกรณีสิทธิมนุษ เพิ่มเติม
ข้อตกลงระหว่างประเทศ
ในปี พ.ศ. 2524 UNEP ได้จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อวางโครงร่างว่าด้วยการป้องกันชั้นโอโซนแม้จะยัง
ไม่ได้มีข้อปฏิบัติแต่นับได้ว่าเป็นมาตรการในการเจรจาระหว่างประเทศฉบับแรกเกิดขึ้น และในเดือนมีนาคม
ค.ศ.1985(2528) UNEP ได้ร่วมกันเจรจาจัดทำอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยเรื่องการพิทักษ์ชั้นโอโซน เพื่อปกป้อง
สุขภาพมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากผลกระทบของโอโซนลดลง เพิ่มเติม
คุณลักษณะของพลเมืองดี
  คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น  และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า  มีดังนี้
1.ต้องเป็นบุคคลที่เคารพกฏหมาย
2.ต้องเป็นบุคคลที่เคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและบุคคลอื่น
3.ต้องเป็นบุคคลที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่มีต่อครอบครัว
  ดรงเรียน เพิ่มเติม
รัฐ
รัฐ คือ กลไกทางการเมืองโดยมีอำนาจอธิปไตยปกครองดินแดนทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตและมีประชากรแน่นอน โดยอำนาจดังกล่าวเบ็ดเสร็จทั้งภายในและภายนอกรัฐ ไม่ขึ้นกับรัฐอื่นหรืออำนาจอื่นจากภายนอก และอาจกล่าวได้ว่า รัฐสามารถคงอยู่ได้แม้จะไม่ได้รับการรับรองจากรัฐอื่น เพียงแต่รัฐที่ไม่ได้รับการรับรองเหล่านี้ มักจะพบว่าตนประสบอุปสรรคในการเจรจาสนธิสัญญากับต่างประเทศและดำเนินกิจการทางการทูตกับรัฐอื่น องค์ประกอบสำคัญของรัฐ มี 4 ประการ คือ เพิ่มเติม
การเลือกรับวัฒนธรรมสากล
การเลือกรับวัฒนธรรมต่างชาติ
การเลือกรับวัฒนธรรมนั้น จะต้องพิจารณาได้ตามปัจจัยดังต่อไปนี้
1. วัฒนธรรมนั้นต้องสามารถผสมผสานเข้ากับโครงสร้างทางสังคมทาง ค่านิยมและขนบธรรมเนียมไทยได้
2. วัฒนธรรมต่างชาตินั้นต้องมีส่วนเกื้อหนุนให้เกิดการพัฒนาวัฒนธรรมไทยให้ก้าวหน้า เช่น การนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการผลิต การศึกษา และการดำเนินชีวิตในสังคม หรือการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น และแลกเปลี่ยนข้อมูลเหล่านั้นไปยังศู เพิ่มเติม
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคมไทย
ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น  เพิ่มเติม